วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2552

DTS03 - 30/06/2552

สรุป
อะเรย์เป็นโครงสร้างข้อมูลที่เรียกว่า Linear List มีลักษณะคล้ายเซ็ตในคณิตศาสตร์ คือ อะเรย์จะประกอบด้วยสมาชิกที่มีจำนวนคงที่ มีรูปแบบข้อมูลเป็แบบเดียวกัน สมาชิกแต่ละตัวใช้เนื้อที่จัดเก็บ ที่มีขนาดเท่ากัน เรียงต่อเนื่องในหน่วยความจำหลัก
การกำหนด Array
การกำหนดอะเรย์จะต้องกำหนดชื่ออะเรย์ พร้อม subscript ซึ่งเป็นตัวกำหนดขอบเขตของอะเรย์ มีได้มากกว่า 1 ตัวจำนวน subscript จะเป็น ตัวบอมิติของอะเรย์นั้น อะเรย์ที่มี subscript มากกว่า 1 ตัวขึ้นไป จะเรียกว่า อะเรย์หลายมิติ
การจัดเก็บอะเรย์ในหน่วยความจำหลักจะใช้เนื้อที่ขนาด เท่ากันเพื่อเก็บสมาชิกแต่ละตัว โดยเนื้อ ที่จะเรียงต่อเนื่องกัน การจัดเก็บอะเรย์ใน หน่วยความจำหลัก จะพิจารณาตาม ประเภทของอะเรย์ในมิติต่าง ๆ ดังนี้

-อะเรย์ 1 มิติ - อะเรย์ หลายมิติ
อะเรย์ 1 มิติ
รูปแบบ
data-type array-name[expression]
data-type คือ ประเภทของข้อมูลอะเรย์ เช่น int char float
array-name คือ ชื่อของอะเรย์
expression คือ นิพจน์จำนวนเต็มซึ่งระบุจำนวนสมาชิกของอะเรย์
ตัวอย่าง char a[4]; int num[10];
อะเรย์ 2 มิติ
รูปแบบ
type array-name[n] [m];
type หมายถึง ชนิดของตัวแปรที่ต้องการประกาศเป็นอะเรย์
array-name หมายถึง ชื่อของตัวแปรที่ต้องการประกาศเป็นอะเรย์
n หมายถึง ตัวเลขที่แสดงตำแหน่งของแถว
m หมายถึง ตัวเลขที่แสดงตำแหน่งของคอลัมน์
Record or Structure
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ประกอบขึ้นมาจากข้อมูล พื้นฐานต่างประเภทกัน รวมเป็น 1 ชุดข้อมูล คือ จะประกอบด้วย data element หรือ field ต่างประเภทกันอยู่รวมกัน ในภาษา C ก็คือการกำหนดข้อมูลเป็นรูปแบบของStructure
Structure คือ โครงสร้างที่สมาชิกแต่ละตัวมีประเภทข้อมูลแตกต่างกันได้ โดยที่ใน structure อาจมีสมาชิกเป็นจำนวนเต็ม ทศนิยม อักขระ อะเรย์ หรือพอยเตอร์ หรือแม้แต่ structure ด้วยกันก็ได้
struct เป็นคำหลักที่ต้องมีเสมอ
struc-name ชื่อกลุ่ม structure
type ชนิดของตัวแปรที่อยู่ในกลุ่ม structure
name-n ชื่อของตัวแปรที่อยู่ในกลุ่ม structure
struc-variable ชื่อตัวแปรชนิดโครงสร้าง คือ ตัวแปรที่มีโครงสร้าง เหมือนกับที่ประกาศไว้ใน ชื่อของกลุ่ม structure อาจมีหรือไม่มีก็ได้ ถ้ามีมากกว่า 1 ชื่อ แยกกันด้วยเครื่องหมาย คอมม่า (,)

VIDEO แนะนำตัว

วันจันทร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2552

DTS02 - 23/06/2552

สรุป
Data Structure
Introduction
ความหมายของโครงสร้างข้อมูลข้อมูล
ข้อมูล(Data)คือข้อเท็จจริงต่างๆซึ่งอาจเป็นตัวเลขหรือไม่เป็นตัวเลขก็ได้
โครงสร้างข้อมูล(Structure)คือความสัมพันธ์ของสมาชิกในกลุ่ม
2.ประเภทของโครงสร้างข้อมูล แบ่งออกเป็น2ประเภทคือ
1.โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพ(Physical Data Structure)
2.โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ(Logical Data Structure)
3..การแทนที่ข้อมูลในหน่วยความจำหลัก มีอยู่2วิธีดังนี้
-การแทนที่ข้อมูลแบบ สแตติก(Static Memory Representation)
-การแทนที่ข้อมูลแบบไดนามิก(Dynamic Memory Representation)
4.ขั้นตอนวิธี
ขั้นตอนวิธีที่ดีควรมีคุณสมบัติดังนี้
-มีความถูกต้อง
-ใช้เวลาในการปฏิบัติงานน้อยที่สุด
-สั้น กระชับ มีเฉพาะขั้นตอนที่จำเป็นเท่านั้น
-มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน
-ใช้เวลาในการพัฒนาน้อยที่สุด
-ง่ายต่อการทำความเข้าใจ


การบ้าน
#include
#include
void main()
{
struct MyCamera{

char name[10];
char generation[15];
char color[10];
char resolution[20];
float pixels;
float high;
float weight;
float price;

}camera;

strcpy(camera.name,"Canon");
strcpy(camera.generation,"EOS 450D");
strcpy(camera.color,"Black");
strcpy(camera.resolution,"4272 x 2848");
camera.pixels=12.2;
camera.high=129;
camera.weight=524;
camera.price=27900;

printf("###########################\n");
printf("###### MY CAMERA ######\n");
printf("###########################\n\n");
printf("Name:\t\t%s\n\n",camera.name);
printf("Generation:\t%s\n\n",camera.generation);
printf("Color:\t\t%s\n\n",camera.color);
printf("Resolution:\t%s\n\n",camera.resolution);
printf("Pixels:\t\t%.1f million\n\n",camera.pixels);
printf("High:\t\t%.2f\n\n",camera.high);
printf("Weight:\t\t%.2f\n\n",camera.weight);
printf("Price:\t\t%.2f\n\n",camera.price);
}


วันอังคารที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ประวัติ


นาย สิทธิชัย เจริญสุข รหัสประจำตัว 50132792020

Mr.Sittichai Charoensuk

ชื่อเล่น อาร์ต

หลักสูตร การบริหารธุรกิจ (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)
คณะวิยาการจัดการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

E-mail :
u50132792020@gmail.com

Tel : 087-7588544